4. ความเหมาะสมของกลุ่มชุดดินสำหรับการปลูกพืชต่างๆ
การจัดชั้นความเหมาะสมของกลุ่มชุดดินที่ 8 นั้นได้จัดสำหรับการปลูกพืชตลอดปี ทั้งนี้เนื่องจากกลุ่มดินนี้ได้มีการพัฒนาหรือปรับปรุงสภาพพื้นที่ทั้งในด้านการป้องกันน้ำท่วมและการระบายน้ำของดินเรียบร้อยแล้ว สภาพพื้นที่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงโดยเกษตรกร (manmade soils) ให้ผิดไปจากสภาพธรรมชาติเดิม สำหรับชั้นความเหมาะสมและข้อจำกัดในการใช้ประโยชน์ได้แสดงไว้ในตารางที่ 2
ตารางที่ 2 ชั้นความเหมาะสมของกลุ่มชุดดินที่ 8 สำหรับปลูกพืชต่างๆ
พืช |
ชั้นความเหมาะสมในการปลูก พืชทั้งฤดูฝนและฤดูแล้ง |
พืช |
ชั้นความเหมาะสมในการปลูกพืชทั้งฤดูและฤดูแล้ง |
ข้าว | 2t |
ผักต่างๆ | |
พืชไร่ | คะน้า | 1 |
|
ข้าวโพดหวาน | 1 |
ผักกาดขาว | 1 |
ข้าวฟ่าง | 1 |
ผักกาดเขียว | 1 |
ปอกระเจา | 1 |
หอม | 1 |
ละหุ่ง | 2dx |
ถั่วฝักยาว | 1 |
งา | 2dx |
ผักบุ้ง | 1 |
ถั่วเหลือง | 1d |
ผักชี | 1 |
ถั่วลิสง | 1d |
พริกต่างๆ | 1 |
ถั่วเขียว | 1d |
ไม้ผล | |
อ้อย | 1 |
มะพร้าว | 1 |
สับปะรด | 2dx |
มะม่วง | 2dx |
ฝ้าย | 2dx |
ขนุน | 2dx |
ละมุด | 1 | ||
ลิ้นจี่ | 1 | ||
ส้ม | 2dx |
หมายเหตุ :- 1.
ชั้นความเหมาะสมของดินแบ่งออกเป็น
3 ระดับ คือ
ชั้นที่ 1 เหมาะสม
ชั้นที่ 2
ไม่ค่อยเหมาะสม
ชั้นที่ 3
ไม่เหมาะสมสัญลักษณ์ที่แสดงถึงข้อจำกัดในการปลูกพืช
2.
สัญลักษณ์ที่แสดงถึงข้อจำกัดในการปลูกพืช
d
หมายถึง การระบายน้ำของดินไม่ดี
t หมายถึง
สภาพพื้นที่ไม่เหมาะสม
x หมายถึง
ดินเค็มเนื่องจากทะเลเข้าถึงในบางช่วง