8. สรุป

          กลุ่มชุดดินที่ 17 พบบริเวณที่ราบระหว่างหุบเขาหรือเนินเขาและบริเวณตะพักลำน้ำระดับต่ำลักษณะเนื้อดินค่อนข้างเป็นทรายคือ ดินทรายปนดินร่วน (loamy sand) หรือดินร่วนปนทราย ( sandy loam) สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงเป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ความลาดเทอยู่ระหว่าง 0-. เปอร์เซ็นต์ในช่วงฤดูฝนจะมีน้ำขังอยู่ระหว่าง 3-4 เดือนในรอบปี กลุ่มชุดดินนี้พบในภาคต่างๆ มีเนื้อที่ประมาณ 12.9 ล้านไร่แต่ที่พบมากคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีเนื้อที่ประมาณ 8.5 ล้านไรปัญหาที่สำคัญเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ คือ เนื้อดินและโครงสร้างของดินไม่เหมาะสม ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ ดินมีน้ำขังในช่วงฤดูฝนเป็นอุปสรรคในการปลูกพืชไร่ ไม้ผล และพืชผักและมีน้ำท่วมทำให้ข้าวที่ปลูกเสียหายในช่วงที่ฝนตกชุกอย่างไรก็ตาม กลุ่มชุดดินนี้ มีศักยภาพเหมาสมในการทำนาในช่วงฤดูฝนและ ปลูกพืชไร่และพืชผัก ก่อนและหลังการปลูกข้าว เพื่อให้การใช้ประโยชน์ที่ดินกลุ่มนี้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลทั้งในด้านการรักษาผลผลิต และรายได้ของเกษตร ควรใช้ประโยชน์ที่ดินกลุ่มนี้แบบไร่นาสวนผสม โดยแบ่งพื้นที่การใช้ประโยชน์เป็นพื้นที่ทำนา พื้นที่ปลูกพืชไร่ ไม้ผลและพืชผัก พื้นที่พัฒนาแหล่งน้ำ และพื้นที่เลี้ยงสัตว์ อัตราส่วนของการใช้ประโยชน์ที่ดินแต่ละประเภทขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ ความต้องการของเกษตรกรและความต้องการของตลาดสำหรับผลิตผลทางการเกษตรแต่ละชนิด

    ตารางที่ 3 สรุปการจัดการกลุ่มชุดดินที่ 17 เพื่อให้เหมาะสมในการปลูกพืชแต่ละชนิด

ชนิดพืช

ปัญหาและข้อจำกัดในการใช้ที่ดิน

วิธีการจัดการดิน

ข้าว

พันธุ์ที่แนะนำ

1. พันธุ์ไวต่อช่วงแสง

-ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กข.6 กข.8 กข.15 ขาวดอกมะลิ 105 ขาวปากหม้อ 148 ขาวตาหม้อ 17 ชุมแพ 60 น้ำสะกุย 19 เหนียวอุบล หางยี 71



-ภาคใต้

กข.13 พัทลุง 60 แก่นจันทร์ นางพญา 132

พวงไร่ 2 เผือกน้ำ 43 เฉี้ยง

-ภาคตะวันออกและภาคกลาง

กข. 77

เก้ารวง 88

ขาวตาแห้ง 17

ขาวปากหม้อ

-สภาพพื้นที่นาบางแห่งมีความลาดเทเล็กน้อย น้ำขังในกระทงนาไม่สม่ำเสมอ ทำให้ขาดน้ำ

 

 

 

 

 

 

 


-ดินเป็นกรด

 

 

 


-ดินค่อนข้างเป็นทรายและมีโครงสร้างค่อนข้างแน่นทึบ

1.แก้ไขโดยปรับกระทงนาให้สม่ำเสมอถ้าเป็นไปได้นำวิธีการจัดรูปแปลงนามาปฏิบัติ(land reshape)

 

 

 

 

 

 

 


- แก้ไขโดยใส่ปูนขาว หรือวัสดุปูนเกษตรอย่างอื่นอัตรา 100 กก.ต่อไร่ หรือตามค่าความต้องการปูน (Lime Requirement : LR)

 

 



แก้ไขโดยเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดินดังนี้

1. ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอัตรา 1-2 ตันต่อไร่

2. ไถกลบตอซังพืชลงดิน ได้แก่ฟาง หรือตอซังข้าวต้นข้าวโพดหรือเศษพืชตระกูลถั่วในช่วงการเตรียมดิน

3. ไถกลบพืชปุ๋ยสดจากพืชตระกูลถั่ว ได้แก่โสนอัฟริกัน ถั่วพุ่มหรือถั่วเขียว ใช้เม็ดอัตรา 5-7 กก.ต่อไร่ ปลูกก่อนทำนาเป็นระยะเวลา 35-50 วันและเมื่อออกดอก 50% จึงไถกลบ

4. ปลูกพืชตระกูลถั่ว ได้แก่ กระถินยักษ์หรือถั่วมะแฮะ บริเวณคันนาแล้วทำการตัดใบหรือกิ่งอ่อนสับกลบเป็นปุ๋ยพืชสดแก้ไขโดยการใส่ปุ๋ยเคมี

    ตารางที่ 3 (ต่อ)

ชนิดพืช

ปัญหาและข้อจำกัดในการใช้ที่ดิน

วิธีการจัดการดิน

2.พันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสงปลูกได้ทุกภาค

กข.1 กข.2 กข.3 กข.4 กข. กข7 กข.9 กข.10 กข.11 กข.12 กข.23 กข.25

สุพรรณบุรี 60

พิษณุโลก 60-2

และพิษณุโลก 90

 

 


พืชล้มลุก

-พืชไร่

-พืชผัก

ปลูกในช่วงฤดูแล้ง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

พืชไร่

-ถั่วลิสง

-ถั่วเขียว

-ถั่วเหลือง

 

 


-ข้าวโพดหวาน

 

 


-ข้าวโพดฝักอ่อน

 

 

 


-ปอแก้ว


-งา


-แตงโม

 

 

 

 

 


-ยาสูบ

พันธุ์เวอร์จิเนีย

 


พันธุ์เบอร์เลย์


พันธุ์อตอร์กิช



พืชผัก

 

 

 

 

 

มะเขือเทศ


มันเทศ



ผักคะน้า

ผักกาดขาว

ผักกาดเขียวปลี

ผักกวางตุ้ง

ผักบุ้งจัน

ผักกาดหอม

หอมแดง

ผักตระกูลกะหล่ำ

พริกขี้หนู พริกชี้ฟ้า


แตงกวา แตงร้าน ฟักทอง บวบ

ถั่วฝักยาว ถั่วลันเตา


ไม้ผล

ปลูกโดยการปรับปรุงพื้นที่นาให้เป็นสวนไม้ผล

- จัดระบบการปลูกพืชแบบไร่นาสวนผสม

 

 

 

 

 

 

 

 

มะม่วง

 

มะละกอ


มะพร้าว


มะม่วงหิมพานต์

 



พืชอาหารสัตว์

พืชตระกูลหญ้า เช่น หญ้าขน กินนี,โร้ด ฯลฯ พืชตระกูลถั่ว กระถิน แค ถั่วลาย คุดชู ฮามาต้า มะแฮะ ฯลฯ

ปลูกในระบบการปลูกพืชแบบไร่นาสวนผสม

-ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ หรือขาดธาตุอาหารพืชบางชนิด

 

 

 

 

 

 

 

 


-ดินมีการระบายน้ำเลว

 

 

-ดินเป็นกรด

-ดินค่อนข้างเป็นทราย

 

 

 

 

 

 

 


-ดินขาดธาตุอาหารพืชบางอย่างหรือดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-ดินมีการระบายน้ำเลว


-ดินเป็นกรด

-ดินค่อนข้างเป็นทรายและมีโครงสร้างค่อนข้างแน่นทึบ




 


-ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำหรือขาดธาตุอาหารบางชนิด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-ดินมีการระบายน้ำเลว

 


-ดินเป็นกรด


-ดินค่อนข้างเป็นทรายและมีโครงสร้างค่อนข้างแน่นทึบ

 

 

 



-ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำหรือขาดอาหารพืชบางชนิด

 

 

 

 

 

 

 

 


-ดินมีการระบายน้ำเลวและมีน้ำขังในช่วงฤดูฝน


-ดินเป็นกรด

-ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ำ

1. อัตราปุ๋ยสำหรับข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง

    ครั้งแรก ปุ๋ยยูเรียช่วงตกกล้า อัตรา 5-10 กก.ต่อไร่

    ครั้งที่ 2 ปุ๋ย 16-16-8 อัตรา 25-35 กก.ต่อไร่ ใส่ก่อนปักดำ

    ครั้งที่ 3 ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) อัตรา 10-15 กก.ต่อไร่ เป็นปุ๋ยแต่งหน้า

2. อัตราปุ๋ยสำหรับข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง

   ครั้งแรก ใส่ปุ๋ยยูเรียรองพื้น ช่วงตกกล้าอัตรา 10-15 กก.ต่อไร่

   ครั้งที่ 2 – ใส่ปุ๋ยสูตร 16-16-8 หรือสูตรอื่นที่มีเนื้อปุ๋ยเท่าเทียมกัน อัตรา 20-25 กก./ไร่

   ครั้งที่ 3 – ใส่ปุ๋ยยูเรีย (46-0-0) อัตรา 5-10 กก./ไร่ เป็นปุ๋ยแต่งหน้า

 

-แก้ไขโดยทำการนกร่องให้สูงขึ้น 10-20 ศม.หลังจากฤดูนาแล้ว พร้อมกับทำคันคูและทางระบายน้ำ เพื่อป้องกันน้ำแช่ขังถ้ามีฝนตกผิดฤดูกาล -

 


-แก้ไขโดยใส่ปูนขาวอัตรา 50-90 กก.ต่อไร่หรือค่าความต้องการปูน (LR)

-แก้ไขโดยการเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดินดังนี้

1. ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอัตรา 1-2 ตันต่อไร่

2. ไถกลบตอซังข้าวหรือฟางข้าวในช่วงระหว่างการเตรียมดิน

3. ใช้วัสดุฟางข้าวคลุกดินอัตรา 400-800กก./ไร่ เพื่อลดการระเหยของน้ำในดินและเมื่อสลายตัวจะเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน

4. ปลูกพืชปุ๋ยสด ได้แก่ปอเทือง ถั่วพุ่ม ถั่วมะแฮะ ใช้เมล็ดอัตรา 3-5 กก./ไร่ สำหรับถั่วพร้าใช้เมล็ด 10 กก./ไร่ เมื่ออายุ 46-60วันจึงไถกลบแล้วทิ้งไว้ 15 วันจึงปลูกพืชหลักตาม

5. ปลูกพืชตระกูลถั่วล้มลุกร่วมกับพืชไร่เศรษฐกิจชนิดอื่น เช่น ปลูกข้าวโพดหรือปอสลับกับถั่วเขียว ถั่วลิสง ถั่วเหลือง ถั่วพุ่ม ถั่วดำ เพิ่มไนโตรเจนและอินทรีย์วัตถุแก่ดิน

6. ปลูกพืชตระกูลถั่วร่วมกับพืชไร่ชนิดอื่น เช่น ปลูกถั่วมะแฮะ หรือกระถินคลุมดิน ให้ปุ๋ยไนโตรเจน และอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน

- แก้ไขโดยใส่ปุ๋ยเคมีตามความต้องการของพืชแต่ละชนิด

1. ใส่ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 25 กก./ไร่ โดยทำการแบ่งใส่2ครั้ง ๆ ละ เท่า ๆ กัน

    ครั้งที่ 1 ใส่รองก้นหลุมก่อนปลูก

    ครั้งที่ 2ใส่เมื่อต้นถั่วอายุ 25 วัน

2.ใส่โบรอนในรูปของบอแรกซ์ 0.9 กก.ต่อไร่ แก้ปัญหาเมล็ดกลวง

3. ใส่ปุ๋ยโมลิบดีนัมในรูปโซเดียวโมลิบเดทหรือแอมโมเนียมโมลิบเดทอัตรา 100-200 กก.ต่อไร่

-ใส่ปุ๋ย 24-12-12 อัตรา 40-50 กก. หรือ 15-15-15 อัตรา 30-40 กก.ต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยยูเรีย 10-15 ต่อไร่ แบ่งใส่ 2 ครั้งๆละเท่าๆ กันดังนี้

ครั้งที่ 1 ใส่รองพื้นก้นหลุมก่อนปลูก

ครั้งที่ 2 ใส่เมื่ออายุ 25 วัน

-ใช้ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 30-35 กก./ไร่ ร่วมกับปุ๋ยยูเรีย 25 กก./ไร่ หรือปุ๋ย 21-0-0 อัตรา 50 กก.ต่อไร่ โดยแบ่งใส่ 3 ครั้งดังนี้

ครั้งที่ 1 ใส่เมื่อต้นอายุ 7-10 วัน

ครั้งที่ 2 ใส่เมื่อต้นอายุ 25 วัน

ครั้งที่ 3 ใส่เมื่อต้นอายุ 35 วัน

-ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 40-50 กก.ต่อไร่ โดนใส่สองข้างแถวเมื่ออายุ 20-25 วัน

-ปุ๋ยสูตร 16-16-8 อัตรา 25-50 กก.ต่อไร่ ใส่เมื่อต้นอายุ 20-25 วันโดยโรยสองข้างแถว

-ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 รองก้นหลุม อัตรา 50-100กก.ต่อไร่

-ใส่ปุ๋ยสูตร 10-10-20 หรือ 13-13-20 อัตรา 50-100 กก.ต่อไร่ โดยใส่รอบๆโคนต้นเมื่ออายุแตงโมได้ 20 วัน

-ใส่ปุ๋ยเสริมแก่แตงโมเช่นยูเรียดังนี้

ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ยยูเรียรอบต้นเมื่อมีใบจริง 5 ใบ

ครั้งที่ 2 ใส่ปุ๋ยยูเรียเมื่อต้นทอดยอดยาว 30 ซม.

ครั้งที่ 3 ใส่เมื่อต้นทอดยาว 90 ซม.

-ใส่ปุ๋ยสูตร 4-16-24+4 (N-P-K+MgO) อัตรา 80-100 กก.ต่อไร่ แบ่งใส่สองครั้ง

ครั้งแรก ต้นอายุ 20-15วัน และ

ครั้งที่ 2 เมื่ออายุ 30-40 วัน

-ใช้ปุ๋ยสูตรบอแรกซ์ 0.5-1.0 กก.ต่อไร่ และใส่ปุ๋ย 4-16-24+4(N-P-K+MgO) อัตรา 80-100 กก.ต่อไร่

-ใช้ปุ๋ยสูตร 4-16-24+4 (N-P-K+MgO) อัตรา 40 กก.ต่อไร่

 

-แก้ไขโดยการยกร่องแปลงปลูกสูงประมาณ 10-20 ซม. ทำคันคูและทางระบายน้ำ

-แก้ไขโดยการใส่ปูนขาว 50-90 กก.ต่อไร่

-แก้ไขโดยการเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน ดังนี้

1. ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอัตรา 1-2 ตันต่อไร่

2. คลุมดินด้วยวัตถุฟางข้าวในอัตรา 800-1,000 กก.ต่อไร่ เมื่อสลายตัวจะเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน

-แก้ไขโดยการใส่ปุ๋ยเคมีตามความต้องการของพืชแต่ละชนิดดังนี้

-ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือ 15-20-20 อัตรา 60-65 กก.ต่อไร่ แบ่งใส่สองครั้ง เท่าๆกัน คือรองพื้นก่อนปลูกและหลังจากย้ายกล้าปลูกแล้ว 2 สัปดาห์

-ใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 100-120 กก.ต่อไร่ แบ่งใส่สองครั้ง ครั้งแรกรองก้นหลุมก่อนปลูก และครั้งที่สองใส่หลังจากปลูก 45 วัน

-ใส่ปุ๋ย 20-10-10 อัตรา 50-70 กก.ต่อไร่ ใส่สองครั้ง ครั้งแรกใส่หลังย้ายปลูกประมาณ 5-7 วัน ครั้งที่สองใส่หลังจากย้ายกล้าอายุประมาณ 3 สัปดาห์

 

 

 

 

 

 

-ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 100 กก.ต่อไร่ ใส่สองครั้ง ครั้งละ 50กก.ต่อไร่ รองพื้นก่อนปลูก และหลังย้ายกล้า 30 วัน

-ใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 50-10 กก.ต่อไร่ใส่หลังแยกกล้า อายุประมาณ 3 สัปดาห์

-ใส่ปุ๋ยสูตร 12-24-12 อัตรา 25-40 กก.ต่อไร่ ใส่สองครั้ง ครั้งแรกรองก้นหลุม ครั้งที่สองใส่ก่อนออกดอก 30-40 วัน

-แก้ไขโดยการยกร่องปลูกดังนี้คือ

1. วางแนวร่องให้สันร่องกว้าง 6-8 เมตร และท้องร่อง กว้าง 1.0-1.5 เมตร ปาดหน้าดินมาที่กลางสันร่อง

2. ขูดดินจากคูมากลบที่ขอบสันร่องให้สูง 50 ซม.

3. ทำคันดินให้ล้อมรอบสวนเพื่อป้องกันน้ำท่วม

-แก้ไขโดยการใส่ปูนขาวอัตรา 100 กก.ต่อไร่ ใส่ในช่วงระหว่างการเตรียมดินปลูกแรกเริ่มหรือใส่ในช่วงเตรียมหลุมปลูกอัตรา 3-5 กก.ต่อตัน

-แก้ไขโดยการเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดินดังนี้

1. ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 20-50 กก.ต่อตัน ในช่วงเตรียมหลุมปลูก

2. ปลูกพืชคลุมดินซี่งเป็นพืชตระกูลถั่วบำรุงดิน ได้แก่ ถั่วลาย ถั่วเซอราโตร ถั่วฮามาต้า และถั่วคุดชู ใช้เมล็ดอัครา 1.5 กก./ไร่

3. ใช้วัสดุเศษพืชคลุมดินได้แก่ ฟางข้าว เมื่อสลายตัวจะเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้แก่ดิน

-แก้ไขโดยการใส่ปุ๋ยเคมีตามความต้องการของไม้ผลแต่ละชนิด

-ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 อัตรา 1-2 กก./ต้น/ปี แบ่งใส่ 4 ระยะ ก่อนติดผล คือเดือน มี.ค. พ.ค. ส.ค.และต.ค. โดยแบ่งใส่ 4 ครั้งละเท่าๆ กัน และระยะให้ผลผลิตแล้วแบ่งใส่ 3 ครั้ง โดยเป็นช่วงหลังเก็บผลผลิต ช่วงก่อนออกดอก 2-3 เดือน และช่วงหลังก่อนติดผล

-ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15 หรือสูตรอื่นที่มีเนื้อธาตุอาหารทัดเทียมกัน อัตรา 1 กก.ต่อต้นต่อปี ใส่ในช่วงหลังออกดอก

-ใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 1-5 กก.ต่อต้นต่อปี โดยแบ่งใส่สองครั้งช่วงต้นและช่วงปลายฝน ใส่เพิ่มตามอายุของมะพร้าว และใส่ปุ๋ยแมกนีเซียมซัลเฟต 200-500 กรัมต่อต้นต่อปี (หรือใส่ปุ๋ยเท่าอายุเช่น 2ปีใส่ 2 กก.ต่อต้นต่อปี)

-ใส่สูตร 12-24-12 หรือ 15-15-15 อัตรา 0.5-1 กก.ต่อต้นต่อปี ใส่เพิ่มตามอายุของต้นโดยแบ่งใส่ 4 ครั้งในเดือน มี.ค. พ.ค. ส.ค. และต.ค.




-แก้ไขโดยการปลูกพืชอาหารสัตว์ในบริเวณพืชที่ที่ทำการยกร่องในเขตพื้นที่ไม้ผล

-แก้ไขโดยการใส่ปูนขาวอัตรา 100 กก.ต่อไร่

-ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักอัตรา 500-1,000 กก.ต่อไร่ เพื่อช่วยปรับปรุงโครงสร้างของดิน และเพิ่มแร่ธาตุอาหารแก่พืช

   back.gif (2807 bytes)forward.gif (2807 bytes)