ภาคผนวกที่ 4/1 พันธุ์ข้าวที่สถาบันวิจัยข้าว กรมวิชาการเกษตร รับรองและแนะนำให้ปลูก หลังปี พ.ศ. 2533
ชื่อพันธุ์ | ชนิด | ลักษณะเด่น | แนะนำให้ปลูกในพื้นที่ |
1.
ข้าวญี่ปุ่น ก.ว.ก. 1.
3. ชัยนาท 1
6. เฉี้ยงพัทลุง
7. ลูกแดง ปัตนี
8. เล็บนก ปัตนี |
ข้าวเจ้านาสวนไม่ไวต่อช่วงแสง
ข้าวเจ้านาสวนไม่ไวต่อช่วงแสง
ข้าวเจ้านาสวนไม่ไวต่อช่วงแสง
ข้าวเจ้านาสวนไวต่อช่วงแสง
ข้าวเจ้านาสวนไวต่อช่วงแสง |
1.
ให้ผลผลิตสูงในดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ 2. ทนทานต่อสภาพอากาศร้อนดีกว่าข้าวญี่ปุ่นในพันธุ์อื่นๆ 3. คุณภาพการสีดี 4. คุณภาพการหุงต้มและรัปทานดี 5. ราคาสูงกว่าข้าวทั่วไป 1. ต้านทานต่อโรคและแมลงหลายชนิด เช่น โรคจู๋ ใบสีส้ม โรคใหม้ โรคขอบใบแห้ง และ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล 2. ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยดี 3. ให้ผลผลิตสูง 1. ด้านทานต่อโรคและแมลงหลายชนิด เช่น โรคจู๋ ใบสีส้ม โรคไหม้ โรคขอบใบแห้ง และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล 2. ให้ผลผลิตสูง 3. ตอบสนองต่อการใช้ปุ๋ยไนโตรเจนดี 1. ขึ้นน้ำได้ดี สามารถปลูกได้ดีในพื้นที่ท่มีระดับน้ำลึก 1-5 เมตร 2. ทนแล้วได้ดี
1. มีความต้านทานต่อโรคและแมลงหลายชนิด เช่น เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โรคไหม้ โรคขอบใบแห้ง และโรคใบหงิก 2. ให้ผลผลิสูง 3. คุณภาพสีดีมาก 4. คุณภาพการหุงต้มดี 1. ให้ผลผลิตค่อนข้างสูง 2. สามารถปรับตัวได้ดีทั้งในพื้นที่นาดอนและนาลุ่ม 3. คุณภาพการสีดี 4. คุณภาพการหุงต้มดี 5. เป็นข้าวพันธ์เบา 1. ทนต่อสภาพดินเค็มและดินเปรี้ยวในภาคใต้ได้ดี 2. ต้านทานโรคใบไหม้ปานกลาง 3. คุณภาพการสีดี 4. คุณภาพการหุงต้มดี 5. เป็นข้าวพันธุ์เบา 1. ทนต่อสภาพดินเค็มและดินเปรี้ยวภาคใต้ได้ดี 2. ต้านทานโรคใบไหม้ปานกลาง 3. คุณภาพการหุงต้มดี 4. คุณภาพการสีดี 1. ลผลิตค่อนข้างสูงในสภาพนาลุ่ม 2. คุณภาพการสีดีมา |
-ภาคเหนือ -ภาคเหนือตอนล่าง -ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
-ภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง
-ภาคเหนือตอนล่าง
|